គគ៌្ររមាស , គគីរមាស
/ krəkiər- mieh กฺรกีรฺ-เมียะฮฺ / , / kɔki:r- mieh กฺกีรฺ-เมียะฮฺ /
|
ซากของต้นตะเคียนทอง* ที่จมอยู่ใต้น้ำและใต้ดินมาเป็นระยะเวลานานหลายปี
ซึ่งชาวบ้านในสังกัดวัดปรือคันได้ร่วมกันทำพิธีเชิญต้นตะเคียนทอง ขึ้นมาจากห้วยสแรเปร็ย ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของวัดปรือคัน เมื่อวันจันทร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ขนมาไว้
ที่วัดปรือคัน ตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ดู และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป |
ภาษาไทย : ต้นตะเคียนทอง
ชื่อสามัญ : ตะเคียนทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hopea odorata Roxb.
ชื่อวงศ์ : DIPTEROCARPACEAE
ชื่อพื้นเมือง : กะกี้ โกกี้ แคน จะเคียน จูเค้ โซเก ตะเคียน จืองา ตะเคียนใหญ่ ไพร
ที่มา : สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้
ភាសាខ្មែរ : គគីរ
គគីរ ( ន. ) ឈ្មោះឈើធំមួយប្រភេទ សាច់រឹងជាប់សម្រាប់ប្រើធ្វើទូកនិងការឯទៀតផ្សេងៗ ។ គគីរ** មានឈ្មោះច្រើនយ៉ាង មាន គគីរថ្ម, គគីរខ្សាច់ ជាដើម ។
ឯកសារយោង ៖ Chuon Nath's Khmer-Khmer Dictionary
English : Hopea odorata, or ta-khian
Hopea odorata, or ta-khian (Thai: ตะเคียน), is a species of plant in the Dipterocarpaceae family. It is found in Bangladesh, Cambodia, India, Laos, Malaysia, Myanmar, Thailand, and Vietnam. It is a large tree reaching up to 45 m in height with the base of the trunk reaching a diameter of 4.5 m. It grows in forests, preferably near rivers, at altitudes between 0 and 600m. In places such as West Bengal and the Andaman Islands it is often planted as a shade tree.Valued for its wood, it is a threatened species in its natural habitat.
Reference : Hopea_odorata
หมายเหตุ
* เก็บตกภาพซากของต้นตะเคียนทอง ที่วัดปรือคัน (20/5/2562)
ขอบคุณภาพจากเฟสบุก : เนียกมอม ศรกโตง
** คำ គគ៌្ររ , គគីរ นี้เขมรฝั่งประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ออกเสียงตัวสะกดที่เป็น ร เรือไม่ได้กันเลย แต่ชนชาติพันธุ์เขมรแถบอีสานใต้บ้านเรา โดยเฉพาะชนชาติพันธุ์เขมรเมืองขุขันธ์ และชนชาติพันธุ์กูยตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ชาวบ้านนอกเราออกเสียง ร สะกดด้วยได้สบายมากๆ